วันอาทิตย์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2556

AGV ในโรงงานอุตสาหกรรม



AGV คืออะไร

  เอจีวี (Automated Guided Vehicles: AGV) เป็นรถขนาดเลก็ท่เีคล่ือนท่ีได้เอง
โดยไม่ต้องมีคนขับ เอจีวีถูกน ามาใช้งานจริงในอุตสาหกรรมครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1953
ในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยตอนนั้นถูกน ามาใช้ขนถ่ายสินค้าในโกดังเก็บสินค้า
ท าให้สามารถประหยัดใน เรื่องของแรงงานคนและเวลาได้เป็นอย่างดี

ส่วนประกอบของ AGV
1. ส่วนของตัวรถ
2. ส่วนของตัวตรวจเช็คเส้นทาง (Guided sensor)
3. ส่วนของตัวตรวจเช็คความปลอดภัย (Safety sensor)
4. ส่วนของต้นก าลัง (Motor)
5. ส่วนของไฟฟ้ าภายในตัวรถ (Power supply)
6. ส่วนของอิเล็กทรอนิกส์ก าลัง (Power electronics)
7. ส่วนของตัวควบคุม (Controller)

ส่วนของตัวตรวจเช็คเส้นทาง (Guided sensor)
ใช้เป็น Magnetic sensor
หลังการท างานของ magnetic sensor
เซ็นเซอร์จะท าการตรวจวัดความสมดุลสองข้าง ซ้าย/ขวา ของแถบแม่เหล็กแล้วด าเนินการ
ตามข้ันตอนท่เีราได้เขียนโปรแกรมควบคุมไว

ส่วนของตัวควบคุม (Controller)
ใช้เป็น Microcontroller ตระกูล AVR
เนื่องจากสามารถรับได้ทั้ง Analog และ digital input/output และยังสามารถ
หาได้ง่ายสะดวกต่อการใช้งาน และใช้ภาษา C ในการเขียนควบคุมการท างาน ท าให้
สามารถเข้าใจการท างานของโปรแกรมและสามารถออกแบบการท างานของโปรแกรม
ได้ง่ายอีกด้วย

วันจันทร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

เทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม 56
รายชื่อสมาชิก
1. อาจารย์ ธภัทร   ชัยชูโชค                อ.ปาล์ม
2. นาย อภิวัฒน์   เจิมขวัญ             กุ้ง
3. นาย ชัยยงค์   ชูแก้ว                         ปั๊ม
4. นาย วิโรจน์   เหมมาน               ลิฟ
5. นาย อาคม   เรืองกูล                        แบงค์
6. นาย อนุพงษ์   เทพพรหม         ทิว

7. นายกฤษกร สุวรรณวงศ์                  เอฟ
8. นายจตุพงค์ ณ สงขลา             พงค์
9.  นายจิรกิตต์ สุขเกษม                      บอย
10.  นายจิรพงศ์ แจ่มศรี               เอฟ
11. นายเชิดชาย เรืองฤทธิ์                 ชาย
12. นายตวิษ เพ็งศรี                     บ่าว
13. นายธีรวุฒิ ศรีสวัสดิ์                      วุฒิ
14. นายนพรัตน์ แก้วกำเนิด      เอ็กซ์
15. นายนันทปรีชา ปิยะ บุญสนอง    โปร
16. นายนิรันดร์ เสมอพบ            แบ
17. นายนิโรจน์ หวันปรัตน์                ซอล
18. นายปภังกร เอียดจุ้ย            กิ๊ฟ
19. นายปรินทร์ ผุดผ่อง                   บอล
20. นายพิชชากร มีบัว              กร
21. นายพีระพงศ์ จันทร์ชู               พงศ์
22. นายภาคภูมิ จุลนวล            เจ
23. นางสาวเยาวเรศ ร่วมพรภาณุ   โรส
24. นายรชต อารี                       รอน
25. นายรุสดี วาลี                               ซี
26. นายวสุ ราชสีห์                    หนัง
27. นายวัชรินทร์ เขียนวารี              ปอนด์
28. นายวิฆเนศ ณ รังษี             หมู
29. นายวิโรจน์ เหมมาน                  ลิฟ
30. นายศุภวัฒน์ ไชยของพรม   รุส
31. นายสมประสงค์ วงศ์สุวรรณ       ทู
32. นายสมศักดิ์ มากเอียด       กล้วย
33. นายสราวุฒิ เกบหมีน               ซอล
34. นายสานิต มิตสุวรรณ         ปอ
35. นายสุรเดช สม่าแห                  ยา
36. นายสุรศักดิ์ สะเกษ             โจ้
37. นายเสะมาดี ตูแวดาแม
38. นายอนิรุตต์ ภาระบุญ             โต๋
39. นายอภิเดช ทองอินทร์      โหนด
40. นายอภิสิทธิ์ ยะโกบ                ดุล
41. นายอับดุลรอมัน บูกา   
42. นายอับดุลเลาะ กาโฮง       เลาะ
43. นายอาจณรงค์ ราชูภิมนต์     มิค
44. นายอานนท์ นาควิเชียร     นนท์
45. นายอาลียะ สะอุ                      ฟาน  
46. นายอาหามะซุบฮี จะแน    มะ
47. นายอิสมาแอ   มะยี   
48. นายจตุรงค์ หิรัญกูล                    นิว
49. นายเกรียงศักดิ์   บุญประเสริฐ       เบียร์
50. นายพุฒิพงศ์   หนูนอง                เพชร

วันเสาร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ใบงานที่ 3 บทความทางด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร 565702050 นายจตุรงค์็ หิรัญกูล

นับถึงปัจจุบัน ทุกคนคงยอมรับว่าการสื่อสารแบบไร้สายกลายเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งต่อการดำรงชีวิตของเรา ๆ ท่าน ๆ ไปแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่หรือที่นิยมเรียกกันว่าโทรศัพท์มือถือ ซึ่งมีการเติบโตและแพร่ขยายไปอย่างกว้างขวาง ในโอกาสที่ผู้เขียนได้รับการชักชวนจากกองบรรณาธิการนิตยสารอินเตอร์แมกาซีน ให้ทำหน้าที่นำเสนอบทความพิเศษเกี่ยวกับเทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือ จึงขอนำเสนอภาพโดยทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยีสื่อสารแบบไร้สายประเภทนี้ เริ่มต้นจากอดีต สู่ปัจจุบัน และต่อเนื่องไปยังอนาคตอันใกล้ เพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจร่วมกันกับผู้อ่าน 

****บทความพิเศษ : มือถือไทย ... อดีต ปัจจุบัน กับพัฒนาการสู่อนาคต โดย อ.ไพโรจน์ ไววานิชกิจ****


หลังจากที่กรมไปรษณีย์โทรเลขได้อนุมัติคลื่นความถี่วิทยุให้องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทศท.) ซึ่งก็คือบริษัท ทศท. คอร์ปอเรชั่นจำกัด (มหาชน) ในปัจจุบัน เพื่อดำเนินธุรกิจการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบNMT (Nordic Mobile Telephone) ความถี่ 470 เมกกะเฮิตรซ์ เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ.2529 ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทยก็ได้เจริญเติบโตขึ้นมาตามลำดับ จวบจนกระทั่งในปัจจุบัน มีผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่มากกว่า 20 ล้านเลขหมาย โดยมีบริษัทผู้ให้บริการหลายรายแบ่งสัดส่วนทางการตลาดที่แตกต่างกัน 

ทั้งนี้ในช่วงแรกการดำเนินธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทยนั้นมีผู้ให้บริการเพียงสองราย คือ ทศท. และการสื่อสารแห่งประเทศไทย (กสท.) หรือบริษัท กสท. โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ในปัจจุบัน แต่เนื่องจากข้อจำกัดในเรื่องของงบประมาณ การขาดความชำนาญในการดำเนินนโยบายทางการตลาดของรัฐวิสาหกิจทั้งสองแห่งรวมถึงเครื่องลูกข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในยุคแรก ๆ ที่มีราคาแพง ทั้งสองหน่วยงานจึงตัดสินใจเปิดให้เอกชนเข้าประมูลสิทธิการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ภายใต้การดูแลของตน ในลักษณะการดำเนินการแบบ BTO (Build-Transfer-Operate) ซึ่งหมายถึงเอกชนเป็นผู้ลงทุนสร้างเครือข่ายพร้อมกับโอนกรรมสิทธิอุปกรณ์เครือข่ายเหล่านั้นให้แก่หน่วยงานเจ้าของสัมปทาน โดยรัฐให้สิทธิเอกชนในการดำเนินกิจการเป็นระยะเวลาช่วงหนึ่ง ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา อุตสาหกรรมโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทยก็ได้มีการขยายตัวอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
ระบบเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่มีรูปแบบการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง เริ่มจากระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ชนิดอนาล็อคมาสู่ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ชนิดดิจิตอล ซึ่งในปัจจุบันผู้ให้บริการในประเทศไทยมีการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั้งสองระบบ โดยจำนวนผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบดิจิตอลนั้นมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในขณะที่สัดส่วนผู้ใช้ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ชนิดอนาล็อคมีแนวโน้มที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง

ภาพรวมของตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศ นับถึงปัจจุบัน ซึ่งประเทศไทยถือได้ว่าเป็นประเทศที่มีความหลากหลายในแง่ของเทคโนโลยีเครือข่าย ให้ผู้บริโภคได้เลือกใช้งานกันอย่างกว้างขวาง ผู้ประกอบการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทยเองก็มีอยู่หลายราย แต่ละรายมีความแข็งแกร่งและส่วนแบ่งทางการตลาด (Market Share) ที่แตกต่าง หากจะกล่าวสรุปอย่างรวบรัดถึงรายละเอียดของบริษัทผู้ให้บริการเครือข่ายที่มีอยู่ทั้งหมด รวมถึงเทคโนโลยีเครือข่าย และเครื่องหมายการค้า

************************************************************************
โดยความคิดโดยรวม เดี่ยวนี้ โทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นปัจจัยอีกอย่างในการใช้ชีวิตประจำวัน 
 ข้อดี
       - เป็นอุปกรณ์ สื่อสารสะดวกต่อการติดต่อ รวดเร็วทันใจ
       - เป็นได้ทั้งสิ่งอำนวยความ สะดวกในการเก็บข้อมูล จดจำ ตลอดไปจน การทำงานทางธุรกิจต่างๆ

แต่ข้อเ้สีย
       - คนรุ่นใหม่จะลืมขนบธรรมเนียบในยุคเก่า เช่นการเขียนจดหมาย การส่งโทรเลข โทรนัด
       - เพราะคำว่าเป็นปัจจัยในชีวิต จึงทำให้มีการใช้ที่มากขึ้น ทำให้ก่อให้เกิด คดีลับทรัพย์ การก่อการร้าย

ผลกระทบต่อตัวเอง 
       - ไม่มีเวลาให้แก่คนรอบข้าง เพราะถ้าอยู่หน้าโทรศัพท์แล้ว จะมีเวลาเป็นส่วนตัวในการจ้องอยู่หน้าจอโทรศัพ

ผลกระทบต่อสังคม
      - ก็ไม่ต่างอะไรกับผม ทุกคนจะมีเวลาเป็นส่วนตัวในการจ้องอยู่แต่หน้าจอโทรศัพท์ และ ไม่สนใจสิ่งรอบข้างที่เกิดขึ้น และเป็นปัจจัยสมัยใหม่ ในหมู่นักเรียน - นักศึกษา ต้องมีไว้เพื่อความสะดวกในชีวิตประจำวัน ในการ ถ่ายรูป อัปเดท Facebook ไปจนกระทั่งเรื่องปัญหาทั่วๆไปไม่สิ้นสุด


อ้างอิงข้อมูลทั้งหมดจาก http://www.siamphone.com/news/aritcle/2004/00001.htm และสามา่รถเข้าไปอ่านข้อมูลเพิ่มเติมจากหน้าเว็บได้เลยนะครับ




วันอาทิตย์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ประวัติ

ชื่อ นายจตุรงค์  นามสกุล หิรัญกูล
ชื่อเล่น นิว
ที่อยู่ มหาิวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
เบอร์โทร 081 8598127 , 084 2535284